สรุปวิจัย
เรื่อง
การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัย โดย ใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
ความมุงหมายของการวิจัย
1.
เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนกรายทักษะ
หลังการใช้กิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
2.
เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
สมมติฐานในการวิจัย
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะมีการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังการทดลองแตกตางกัน
วิธีดําเนินการวิจัย
1 การกําหนดกลุมตัวอย่าง
กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ
นักเรียนชาย - หญิงที่มีอายุระหวาง 4 - 5 ป
ซึ่ง กําลังศึกษาอยูชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
ปการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร เขตดอนเมือง
กรุงเทพมหานคร เขตพื้นที่การศึกษา 2 ไดมาจากการสุมอยางงาย
โดยการจับสลาก เลือกจํานวน 1 หองเรียน จากจํานวน 2 หองเรียน และผูวิจัยสุมนักเรียนเขากลุมทดลอง จํานวน 15 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
1.ชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตรโดยใชสมองเปนฐานการเรียนรู (Brain
- Based Learning) ของ รศ.ดร.กุลยา ตันติผลาชีวะ
2.แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรสาระตามชุดแบบฝึกทักษะ
3.แบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร
ขั้นตอนในการศึกษาคนควา
1.ขอความรวมมือกับผูบริหารโรงเรียนในการทําวิจัย
2.ชี้แจงใหครูประจำชั้นทราบรูปแบบงานวิจัย และขอความรวมมือในการดําเนินการวิจัย
3.สรางความคุนเคยกับเด็กกลุมตัวอย่างเป็นระยะเวลา 3 สัปดาห
4.กอนทําการทดลอง ผูวิจัยทําการประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
โดยใชแบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
5.ดําเนินการทดลองโดยใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะระหวาง
วันที่ 18 มิถุนายน 2550 ถึงวันที่ 10
สิงหาคม 2550 ใชเวลาในการทดลอง 8 สัปดาหสัปดาหละ 3 วัน ไดแก วันจันทร วันพุธ และวันศุกรวันละ 30 นาที
ในชวงกิจกรรมเสริมประสบการณเวลา 09.00 - 09.30 น.
รวมทั้งสิ้น 24 ครั้ง
6.เมื่อสิ้นสุดการทดลองผูวิจัยทําการประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ โดยใชแบบประเมินทักษะ กระบวนการวิทยาศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
ซึ่งเปนแบบประเมินชุดเดียวกับที่ใช้ประเมินกอนการทดลองและนาคะแนนที่ได้จากการประเมินไปทําการวิเคราะห์ขอมูลทางสถิติิตอไป
การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามลําดับ
ดังนี้
1.หาคาสถิติพื้นฐานแสดงคะแนนเฉลี่ยและความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.เปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
โดยใช t - test แบบ Dependent
ตามภาพรวม เมื่อดูผลการวิเคราะหขอมูลภายในกลุมทดลองที่ใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบ
ฝกทักษะวิทยาศาสตรพบวาเด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรสูงขึ้นกวากอน
การทดลอง สามารถอภิปรายไดดังนี้
1.เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝกทักษะหลังการทดลองมีการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรแตกตางจากกอนการทดลอง
1.1แบบฝกทักษะวิทยาศาสตรที่นํามาใชเนนสมองเปนฐานการเรียนรู(Brain-Based Learning) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูดังกลาว เปนกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะวทยาศาสตร์ที่่เปดโอกาสใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติดวยตนเอง
จากกิจกรรมทําใหเด็กสังเกต และเรียนรูมโนทัศนของแมลงซึ่งการเรียนการสอนแบบนี้สอดคลองกับการเรียนรู้ที่จัดใหเด็กไดลงมือ
กระทําไดคิดและหาคําตอบในการกระทํากิจกรรมการเรียนรูแตละกิจกรรมการคนควาหาความรูของเด็กนั้น
เด็กไดเรียนรูจาก ประสบการณ์ตรงโดยการใช้ประสาทสัมผัสเขาไปสังเกตสื่อและอุปกรณตางๆและสิ่งที่คนพบจากการเรียนรูใหผูอื่นเขาใจไดผูเรียนจึงมีความสนใจใฝ่เรียนรู
จากแหลงการเรียนรูนอกสถานที่ทําใหสามารถนําขอมูลที่ไดจากการสังเกตมาสนทนา
พูดคุย อธิบายใหผูอื่นเขาใจไดงายและยิ่งไปกวานั้นเด็กสามารถสื่อความหมายโดยการทําชุดแบบฝกทักษะวิทยาศาสตร์
การจัดกิจกรรมการเรียนรู จะกระตุ้นใหเด็กแสดงออกอยางอิสระ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะนี้
เด็กไดมีโอกาสนําเสนอผลงานจากความคิดของตนเองอย่างอิสระจึงสงผลใหผูเรียนเกิดทักษะกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง
เด็กไดเรียนรูจากการทบทวนบทเรียน โดยการทําชุดแบบฝกทักษะวิทยาศาสตรที่เนนสมองเปนฐานการเรียนรู
(Brain - Based Learning) เพื่อฝก ใหเด็กไดเตรียมความพรอมดานสติปญญา
และทักษะตางๆ มีรูปแบบ วิธีการ ที่มีแบบแผน กฎเกณฑ โดยมีคําสั่งของแตละกิจกรรมตามเนื้อหาจุดประสงคของแบบฝกแต่ละเลม
เด็กไดใช้ความคิดทั้งทางดาน เหตุผล และในเชิงจินตนาการอยางสรางสรรค การจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะ
วิทยาศาสตรที่เนนสมองเปนฐานการเรียนรู (Brain - Based Learning) ซึ่งแตละแบบฝึกจะเปิดโอกาสใหผูเรียนใชพลังสมองทั้งซีกซายและซีกขวาไปพรอมกัน
จนเกิดเปนความรูความเขาใจตาม
1.2 แบบฝกสามารถถายทอดใหเด็กนำเสนอผลงานได้ซึ่งการที่เด็กไดนําเสนอผลงาน เปนการแสดงความคิดเห็นและการนําเสนอผลงานที่เปนสวนสําคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรูซึ่ง
ผูวิจัยใช้เทคนิควิธีการสอนอยางหลากหลายเพื่อกระตุ้นใหเด็กแสดงออกซึ่งความคิดของตนเอง
โดย ใชภาษาบรรยายออกมา ทําใหเด็กสามารถตรวจสอบความคิดเห็นของตนเองและผูอื่นได ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรูไปนอกสถานที่เปนวิธีอันหนึ่งที่ชวยผลักดันใหเขามาเกี่ยวพันกับสิ่งแวดลอม
เด็กในวัยอนุบาลตองการได้พบเห็นสิ่งใหม่ๆ เสียงและกลิ่นใหม่ๆ
ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย หลังการทดลองมีคาเฉลี่ยคะแนนสูงขึ้น ทุกทักษะ อยูในระดับดีมาก 3 ทักษะ คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการลงความเห็น และอยูในระดับดี 1 ทักษะ คือทักษะการจําแนกประเภท
1.1
การสังเกต
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะนั้นเปนลักษณะของการจัดกิจกรรมที่เปดโอกาสใหเด็กได้ศึกษาค้นควาความรูด้วยตนเองเด็กเกิดกระบวนการถ่ายโยงความรู
เนื่องจากเด็กเปนผูลงมือกระทําดวยการดู การสัมผัส การชิมรส การฟงเสียง และการดม จากสื่ออุปกรณที่ครูเตรียมไวและสิ่งที่แวดลอมที่อยูรอบตัว
ซึ่งเปนการเรียนรูจากสิ่งใกลตัว และสิ่งที่เด็กคุนเคยสูการ เรียนรูสิ่งไกลตัวตามลําดับ
เปนการดําเนินการเรียนจากสิ่งที่งายไปสูสิ่งที่ยากขึ้นตาม ลําดับ เพื่อให เด็กไดมีโอกาสคนควาหาความรูดวยตนเอง
1.2
การจําแนกประเภท
ลักษณะการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะมุงใหเด็กเกิดการเรียนรูจากการลงมือกระทําสืบคนหาความรูดวยตนเองโดยการเชื่อมโยงจาก
ประสบการณ์เดิมประสานกับประสบการณใหมความรูอย่างตอเนื่องดวยการจําแนกเปรียบเทียบ
ความเหมือน ความแตกตาง รวมกับการสังเกตอย่างถี่ถ้วนรอบคอบซึ่งเปนการสอนทักษะการจําแนก
ประเภทใหแก่เด็กปฐมวัยและเปนการกําหนดเกณฑเพื่อการเปรียบเทียบตามคุณสมบัติของสิ่งตางๆ
รอบตัวอย่างง่าย ดวยตัวเด็กเองหรือจากการทํากิจกรรมกลุม เพื่อการจัดระบบและจัดหมวดหมู
ของการสรางความรูใหมและนําไปใช้ในชีวิตประจําวันได้
1.3
การสื่อสาร เปนทักษะที่มีความสําคัญตอการเรียนรูและใชในการดําเนินชีวิตของโลกยุคปจจุบัน
เพราะการสื่อสารจะทำใหผูสงและผูรับข้อมูลเกิดความเขาใจตรงกันอยางชัดเจน ถูกตอง
และรวดเร็ว ดังนั้นการพัฒนาทักษะการสื่อสารจึงจําเปนตองเริ่มตนตั้งแต่เด็กปฐมวัย
การสื่อสาร ของเด็กจะสมบูรณได เด็กตองใชการสังเกต การจําแนกประเภทร่วมดวย
เนื่องจากการจัดกิจกรรม การเรียนรูประกอบชุดแบบฝกทักษะไดเนนถึงการแสดงออกและการเรียนรูแบบร่วมมือ
ซึ่งเด็กจะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน จากแบบฝึกทักษะที่เนนสมองเปนฐานการเรียนรู
(Brain
- Based Learning)
1.4 การลงความเห็น
ลักษณะการใชกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดแบบฝึกทักษะเปน การจัดการเรียนรูทั้งรายบุคคลและรายกลุม
เด็กทุกคนตองรวมกันคิดและช่วยเหลือกันในการเรียนรู กลาวคือเด็กแตละคนตองไดเรียนรูจากเพื่อน
ครู จากสื่อ - อุปกรณที่ครูเตรียมไวให เพื่อที่จะนำขอมูลที่ไดมาผนวกกับความรูและประสบการณเดิม
ซึ่งเด็กจะไดสรุปเปนความรูใหมขึ้นมารวมกัน ตามมโนทัศน์ของการเรียนรูในแตละวัน
เนื่องจากเด็กแตละคนตางมีประสบการณ์เดิมที่แตกตางกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น